ผักบุ้งและคุณประโยชน์

เป็นพืชที่อยู่ในวงค์ผักบุ้ง จะพบเห็นได้ทั่วไปแต่จะพบในฤดูร้อนมากกว่า และเป็นผักท้องถิ่นที่คนทั่วไปรู้จัก ไม่ว่าจะเป็นคน ไทย เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย และ กานา ก็นิยมรับประทานเป็นอาหารแต่ส่วนมากคนไทยจะชอบนำมารับประทานจะมี3สายพันธุ์ คือ ผักบุ้งไทย ผักบุ้งนา ผักบุ้งจีน โดยผักบุ้งไทยมักปลูกในน้ำเพราะเจริญเติบโตได้ดีกว่าบนบก ส่วนผักบุ้งจีนจะปลูกในดินเพราะต้องการธาตุอาหารจากในดินมากกว่า และเป็นผักใบเขียวที่มีคุณค่าทางสารอาหาร อุดรไปด้วยวิตามิน เกลือแร่ โปรตีน เส้นใยอาหารแคโรทีน และฟลาโวนอยด์ ซึ่งล้วนประโยชน์ต่อร่างกาย นอกจากรับประทานเป็นอาหาร ผู้คนยังนิยมผักบุ้งมาใช้เป็นยาขับลม และบรรเทาอาหารอักเสบ ลดไข้ แก้โรดีซ่าน รักษาหลอดลมอักเสบรวมถึงโรคเกี่ยวกับตับและน้ำดี เพราะสรรพคุณทางยาของผักบุ้ง

ผักบุ้ง

สายพันธุ์และประโยชน์ของผักบุ้ง

สายพันธุ์ผักบุ้ง

  • ผักบุ้งจีนจะขึ้นบนบก มีลักษณะลำต้นและใบสีเขียวอ่อน ยางน้อยกว่าผักบุ้งไทย
  • เป็นผักบุ้งที่นิยมปลูก– -ผักบุ้งไทยหรือผักบุ้งน้ำ เป็นผักบุ้งที่ขึ้นอยู่ในน้ำ
  • ผักบุ้งนา ลำต้นจะมีสีแดง ยอดเรียวเล็ก 

ประโยชน์ของผักบุ้ง   
ผักบุ้งนำมาใช้ในการประกอบอาหารได้หลากหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็ด ผัด แกง ดอง เช่น ผัดผักบุ้งไฟแดง ส้มตำ แกงส้ม แกงเทโพ ยำผักบุ้งกรอบ และยังเป็นอาหารให้แก่สัตว์ได้หมือนกัน ไก่ เป็ด ปลา เต่า และยังเอามาแปรรูปเป้นผลิตภัณฑต่างได้ๆ เช่น ผักบุ้งแคปซูล ผงผักบุ้ง 

ผักบุ้ง

สรรพคุณของผักบุ้ง

1.ช่วยให้ผิวพรรณเปล่งปลั่งสดใส 
2.มีส่วนช่วนในการต่อต้านอนุมูลอิสระ ช่วนในการชะลอวัย ความแก่ชรา และชะลอการเกิดริ้วรอยแห่งวัย
3.ป้องกันการเกิดหรือลดอัตราการเกิดของโรคมะเร้งได้
4.ช่วยบำรงสายตา รักษาอาการตาต้อ ตาฝ้าฟาง ตาแดง สายตาสั่น หรืออาการต่างที่เกี่ยวกับระบบทางตาได้
5.ต้นสดของผักบุ้งนั้นใช้เป็นยาดับร้อนได้ แก้อาการร้อนใน
6.ต้นสดของผักบุ้งในเป็นบำรุงโลหิต
7.ช่วยเสริมสร้างศักยภาพในด้านความจำและการเรียนรู้ให้ดีขึ้น
8.ยอดผักบุ้นช่วยแก้โรคประสาท
9.แก้อาการเหงื่อออกมาก
10.มีส่วนช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด ป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน

กินผักบุ้งให้ได้ประโยชน์และปลอดภัย

ประโยชน์บางประการของผักบุ้งไม่เพียงมีการกล่าวอ้างในตำรับยาสมุนไพร แต่ยังได้รับการพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์จากงานวิจัยต่าง ๆ อย่างไรก็ตาม งานวิจัยหลายชิ้นชี้ให้เห็นว่าผักบุ้งมีสารปนเปื้อนที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นสารตะกั่ว แคดเมียม และปรอท โดยเฉพาะสารปรอทที่อันตรายต่อสตรีมีครรภ์และทารกในครรภ์เป็นอย่างมาก อาจส่งผลกระทบต่อพัฒนาการทางสมองของทารกตั้งแต่อยู่ในครรภ์ ซึ่งมีผลต่อการพัฒนาความคิด สติปัญญา ความจำ ทักษะการใช้ภาษา การเคลื่อนไหวอวัยวะ และการมองเห็น นอกจากนี้ ผู้ใหญ่ที่ได้รับสารปรอทอาจมีปัญหาเกี่ยวกับระบบประสาท ระบบย่อยอาหาร ภูมิคุ้มกันร่างกาย ปอด ไต หรือเสียชีวิตได้อย่างไรก็ตาม ผู้บริโภคไม่จำเป็นต้องหลีกเลี่ยงการบริโภคผักบุ้งโดยสิ้นเชิง เพราะเป็นแหล่งสารอาหารอันเป็นประโยชน์ต่อร่างกาย เพียงเลือกซื้อจากแหล่งจำหน่ายที่ได้รับการรับรองมาตรฐานความปลอดภัยและความสะอาด รวมทั้งนำไปปรุงอาหารอย่างถูกสุขอนามัย และอาจใช้วิธีต้ม ต้มให้เปื่อยในหม้ออัดแรงดัน หรืออบในไมรโครเวฟ เพื่อคงคุณค่าทางอาหารไว้ เนื่องจากมีงานวิจัยพบว่าผักบุ้งที่ปรุงสุกด้วยกระบวนการดังกล่าวจะมีสารต้านอนุมูลอิสระเพิ่มมากขึ้น 

คุณค่าทางโภชนาการของผักบุ้งนั้นมีดังนี้

  • พลังงาน 19 กิโลแคลอรี
  • คาร์โบไฮเดรต 3.14 กรัม
  • เส้นใย 2.1 กรัม
  • โปรตีน 2.6 กรัม
  • วิตามินเอ 315 ไมโครกรัม 39%
  • วิตามินบี 10.03 มิลลิกรัม 3%
  • วิตามินบี 20.9 มิลลิกรัม 8%
  • วิตามินบี 3 0.9 มิลลิกรัม 6%
  • วิตามินบี 5 0.141 มิลลิกรัม 3%
  • วิตามินบี 6 0.096 มิลลิกรัม 7%
  • วิตามินบี 9 57 ไมโครกรัม 14%
  • วิตามินซี 55 มิลลิกรัม 66%
  • ธาตุแคลเซียม 77 มิลลิกรัม 8%
  • ธาตุเหล็ก 1.67 มิลลิ

วิธีปลูกผักบุ้งให้ได้ผลเร็วและลำต้นสว

การเตรียมอุปกรณ์ในการปลูก

  • กาบมะพร้าวสับ
  • เมล็ดผักบุ้ง
  • ดินและฟางสำหรับคุมหน้าดิน
  • นำเมล็ดผักบุ้งแช่น้ำทิ้งไว้ 1 คืน จากนั้นก็ห่อด้วยผ้าต่ออีก 2 คืน และต้องให้ผ้าชื้นอยู่ตลอดเวลา เพื่อเป็นการเร่งให้งอกเร็วขึ้น
  • จากนั้นรากขาวๆ ของผักบุ้งก็จะงอกออกมา
  • เมล็ดผักบุ้งงอกรากแล้วนำลงไปปลุกในดินหลุมเมล็ด โดยวิธีการเอาเมล็ดลงดินนั้น จะต้องเอานิ้วกดลงไป
  • ปิดปากรุดแล้วรดน้ำ ถแล้วใช้ฟางมาคลุมหน้าดินสักหน่อย กันหน้าดินแห้ง
  • จากนั้นต้นผักบุ้งก็จะค่อยๆงอกออกมา

ติดตามข้อมูลเพิ่มเติม: veggiesgreen.com

โพสที่เกี่ยวข้อง